-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 568 บุคคลทั่วไป และ 0 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

นาข้าว







 

การค้นพบยีนความหอมในข้าว และแนวทางการใช้ประโยชน์


ข้าวหอมที่คนทั่วโลกรู้จักกันอย่างแพร่หลายมี 2 ชนิด คือ ข้าวบาสมาติ และข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งคุณสมบัติหลักที่ทำให้ข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีคุณค่าโดดเด่นคือ ความหอม สารหอมระเหยนี้มีชื่อทางเคมีว่า 2-อะเซทิล-1-ไพร์โรลีน หรือ 2 เอพี (2-acety-1-pyrroline; 2AP) ซึ่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ได้ค้นพบยีนที่ควบคุมความหอมในข้าวขาวดอกมะลิ 105 และตั้งชื่อว่า โอเอส 2 เอพี (Os2AP) ซึ่งค้นพบว่า ยีนดังกล่าว มีความแตกต่างไปจากยีนเดียวกันที่พบในข้าวปราศจากกลิ่นหอม ซึ่งเป็นผลจากการกลายพันธุ์ในข้าวขาวดอกมะลิ 105 ซึ่งการกลายพันธุ์ในยีนดังกล่าวนี้เอง ทำให้เกิดการสร้างสรรให้กลิ่นหอมขึ้นในพันธุ์ข้าวหอม นอกจากการค้นพบยีนความหอมดังกล่าวแล้ว กลุ่มนักวิจัยได้พัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องกับความหอม เพื่อนำไปใช้ในการคัดเลือกพันธุ์ข้าวหอมที่ได้จากการปรับปรุงพันธุ์ว่ามียีน ความหอมอยู่หรือไม่ และยังนำไปใช้หายีนความหอมในข้าวสายพันธุ์อื่นๆ นอกเหนือจากข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทั้งนี้ คณะผู้วิจัย ได้ยื่นจดสิทธิบัตรยีนความหอมและการใช้ประโยชน์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ฝรั่งเศส จีน เวียดนาม ญี่ปุ่น อินเดีย ฟิลิปปินส์ ไทย และยุโรป โดยสิทธิบัตรสหรัฐอเมริกา เลขที่ 7,319,181 เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2551...
 


เอกสารแนบ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)
113 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ต.คลองหนึ่ง
อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 6700 โทรสาร 0 2564 6701-5
http://www.biotec.or.th









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-05-10 (2459 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©