|
ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่
|
|
|
|
|
|
ขณะนี้มี 536 บุคคลทั่วไป และ 1 สมาชิกเข้าชม
ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่
|
|
|
|
|
|
|
|
เข้าระบบ
|
|
|
|
|
|
ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง
|
|
|
|
|
|
|
|
product13
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
product9
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
product10
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
product11
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
product12
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
| |
|
|
|
|
สารสมุนไพร
สารสกัดจากข่าและพริกไทยปราบแมลง
|
จุดประสงค์
จากการที่คณะทำงานของพวกเรา เป็นนักเรียนในท้องถิ่น ที่ชุมชนของเราเป็นชุมชนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร
ร้อยละ 95 มีการทำการเกษตรที่หลากหลาย เช่น การทำนา การทำสวน การปลูกพืชผักสวนครัว เพื่อเอาไว้กินหลังบ้าน เมื่อคุณพ่อแม่ ทำการเกษตรครั้งใด พวกเราเป็นลูกชาวนา มักจะได้ยินคำตัดพ้อจากพ่อแม่อยู่บ่อยครั้งว่า
พักนี้มีแมลงมากเหลือเกิน ต้องฉีดยาฆ่าแมลง พวกเราจึงคิดว่า จะทำอะไรเพื่อคุณพ่อ คุณแม่บ้าง เมื่อที่จะทำนา หรือทำสวน และปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินหลังบ้านก็มีแมลงมากมาย คุณพ่อ แม่ต้องประสบกับการที่ต้องใช้สารเคมี
ฉีดพ้นกำจัดแมลงโดยตลอด คณะของเราจึงตกลงกันว่า จะหาพืชผักสวนครัว อะไรที่เรียกว่า เกลือจิ้มเกลือ ใช้กำจัดแมลงในสวนหรือแปลงผักหลังบ้าน คณะของเรา คิดกันอยู่ได้แนวความคิดว่าข่า ใช้ได้ทั้งสดและแห้ง นอกจากเป็นส่วนผสมในเครื่องแกงแล้ว ยังมีชื่อเสียงในตำรับอาหารอื่นๆ ด้วย เช่น ไก่ต้มข่า นอกจากข่าช่วยให้อาหารมีกลิ่นและรสอร่อยเฉพาะตัวแล้ว ยังมีสรรพคุณช่วยย่อยและช่วยขับลม ทำให้รู้สึกสบายท้อง ท้องไม่อืดเฟ้อหลังรับประทานอาหาร นอกจากใช้ข่ารับประทานแล้ว ยังใช้ฝนขับเหล้าโรง หรือ เอททิล แอลกอฮอล์ (ethyl alcohol) ทารักษากลากเกลื้อน โรคผิวหนังได้ดีอีกด้วย นอกจากนี้ น้ำมันสกัดจากข่า ยังใช้แต่งกลิ่นรสของเครื่องดื่มผสมและไม่ผสมสุราได้ด้วย
พริกไท
ชื่อเรียกทั่วไปว่า pepper ซึ่งมีทั้งพริกไทสด เช่น เมล็ดพริกไทอ่อน พริกไทแห้ง ซึ่งถ้าทำแห้งทั้งเปลือกจักได้พริกไทดำ ซึ่งเมื่อป่นแล้วเห็นมีผงของเปลือกเป็นสีดำปนอยู่ ส่วนพริกไทขาว ได้ลอกส่วนของเปลือกออก
คุณประโยชน์ทางยาของพริกไท ได้แก่ ช่วยให้ระบบย่อยอาหารทำงานดีขึ้น ระงับอาเจียน ผ่อนคลายอาการไม่สบายในกรณีที่ อาหารเป็นพิษจากอาหารทะเลและเนื้อสัตว์ เมื่อนำมาปรุงอาหารโดยที่ถ้าเรานำมาทุบให้แตกแล้วนำมาต้มให้ร้อน ถ้าคนกินเข้าไป จะร้อนและเผ็ดมาก คณะของพวกเราจึงตกลงคิดทำโครงกางการผลิตสารฆ่าแมลงจากพืชผักสวนครัว พวกเราจึงคิดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ดังนี้
|
วัสดุ-อุปกรณ์
|
1. หัวข่า จำนวน 500 กรัม(ครึ่งกิโลกรัม)
2. พริกไทยป่น 2 ช้อนชา จำนวน 300 กรัม (3ขีด)
3. เตาแก็ส
4. หม้อ อลูมิเนียม
5. ทัพพี สำหรับคน
6. ผ้าขาวบาง
7. ถ้วยตวง
วิธีการทำ
|
1. ตำหัวข่าจำนวน 500 กรัม ที่คณะของเรานำมาจากสวนหลังบ้านตำให้ละเอียด คั้นน้ำข่าที่ตำหรือใส่เครื่องปั่นละเอียด ใส่ผ้าขาวบางคั้นนำให้มากที่สุดจะหมด หลังจากนั้นก็มาเตรียม |
2. นำพริกไทยป่น จำนวน 3 ขีด ตำให้เม็ดแตก หรือว่าใส่ครกตำให้ละเอียด จากนั้นพวกเราก็นำพริกไท นำไปต้มให้เดือด คนพริกไทยให้ละลาย ด้วยนำประมาณ 500 ซีซี จากนั้น ปล่อยให้เย็น |
3. ตั้งทิ้งไว้ให้เย็น กรองน้ำพริกไทย ด้วยผ้าขาวบาง 2 ชั้น |
4. เอาน้ำข่าและน้ำพริกไทยเทผสมกัน เติมน้ำสะอาด 200 ซีซี คนให้เข้ากัน |
การดำเนินงาน
|
คณะของพวกเราได้เริ่มดำเนินการทดลองใช้สารฉีดพ่นที่สกัดจากพืชผักสวนครัวให้กับต้นไม้ 3 ประเภท ที่มีอยู่ในบ้านของพวกเรา ซึ่งสามารถแบ่งแยกประเภทต้นไม้ ได้ดังนี้ |
- ฉีดพ่นฆ่ามดที่เป็นตัวการแพร่ระบาดของเพลี้ยแป้ง เพลี้ยน้ำตาลบนต้นดอกกุหลาบและไม้ดอกที่อยู่บริเวณหน้าบ้าน ทุกๆ 7 วัน พวกเราพบว่า มดและแมลงที่มาอาศัยและเพลี้ยแป้ง หายไปในที่สุด |
- ฉีดพ่นบนผิวของผลไม้คือมะม่วงจำนวน 1 ต้น โดยให้คุณพ่อเป็นคนฉีดพ้น ในเวลา ทุกๆ 7 วัน เพื่อป้องกัน แมลงวันทองที่ชอบมาเจาะผิวของมะม่วงเพื่อวางไข่ ในกำหนดเวลา ทุกๆ 7 วัน คณะของเราสังเกตมะม่วงที่ฉีดพ่น พบว่า มะม่วงต้นนั้น มีผลที่ใสสะอาด ไม่มีแมลงวันทองเข้ามารบกวน ผลไม้นั้น |
ผิดกับต้นอื่นๆ เมื่อสังเกตเห็นว่า แมลงวันทองเข้าไปเจาะผิวและวางไข่
- ฉีดพ่นบนแปลงผักป้องกันเพลี้ยและแมลงกัดกินใบพืช |
ข้อแนะนำ
|
พริกไทยป่นที่ขายตามท้องตลาดอาจไม่บริสุทธิ์ อาจตำพริกไทยป่นเองก็ได้ นอกมีสารเจือปนมาพอสมควรแล้ว คุณภาพ ความ เผ็ดร้อนของพริกไท ประเภทพริกไท ที่สดจะมีคุณภาพที่เผ็ดร้อน มากว่าและคุณภาพดีกว่า |
ข่า ควรเป็นข่าสด ที่นำมาใหม่ ๆ ไม่ควรนำเอาข่าที่ถูกแกะเปลือกทิ้งไว้ในเวลานานๆ และ การนำข่ามาป่นให้ละเอียดให้ใช้รากด้วย ไม่ควรตัดรากออกและหั่นแล้ว ไม่ควรล้างน้ำ
school.obec.go.th/pratuang//text/บทคัดย่อ.html -
|
|
สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved. ติดประกาศ: 2010-06-09 (3470 ครั้ง) [ ย้อนกลับ ] |
|
|
|
|
|