-
++kasetloongkim.com++ - Content
หน้าแรก สมัครสมาชิก กระดานข่าว ดาวน์โหลด ติดต่อ

เมนูหลัก

» หน้าแรก
» เว็บบอร์ด
» ผู้ดูแล
» ไม้ผล
» พืชสวนครัว
» พืชไร่
» ไม้ดอก-ไม้ประดับ
» นาข้าว
» อินทรีย์ชีวภาพ
» ฮอร์โมน
» จุลินทรีย์
» ปุ๋ยเคมี
» สารสมุนไพร
» ระบบน้ำ
» ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
» ไร่กล้อมแกล้ม
» โฆษณา ฟรี !
» โดย KIM ZA GASS
» สมรภูมิเลือด
» ชมรม

ผู้ที่กำลังใช้งานอยู่

ขณะนี้มี 534 บุคคลทั่วไป และ 1 สมาชิกเข้าชม

ท่านยังไม่ได้ลงทะเบียนเป็นสมาชิก หากท่านต้องการ กรุณาสมัครฟรีได้ที่นี่

เข้าระบบ

ชื่อเรียก

รหัสผ่าน

ถ้าท่านยังไม่ได้เป็นสมาชิก? ท่านสามารถ สมัครได้ที่นี่ ในการเป็นสมาชิก ท่านจะได้ประโยชน์จากการตั้งค่าส่วนตัวต่างๆ เช่น ฉากหรือพื้นโปรแกรม ค่าอ่านความคิดเห็น และการแสดงความเห็นด้วยชื่อท่านเอง

สถิติผู้เข้าเว็บ

มีผู้เข้าเยี่ยมชม
PHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG CounterPHP-Nuke PNG Counter ครั้ง
เริ่มแต่วันที่ 1 มกราคม 2553

product13

product9

product10

product11

product12

ระบบน้ำ





กำลังปรับปรุงครับ



ระบบน้ำหยดในสำปะหลัง...








ระบบน้ำหยด แบบใช้ท่อจิ๋ว
ที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต



วิธีีการทำดังนี้
1. วางท่อย่อย(ท่อ PE ขนาด 20 มม.) ตามแนวหลุมแตง
2. ตัดท่อจิ๋ว(ท่อพีอี ขนาดรู 1-1.5 มม.) ยาว เส้นละ 30-50 ซม. เป็นหัวน้ำหยด
3. เจาะรูที่ท่อย่อย ตามระยะหลุมแตงที่ปลูก ขนาดพอเสียบท่อจิ๋วลงไปได้
4. เสียบท่อจิ๋วที่เตรียมไว้ ที่รูท่อย่อย



5. ใช้ฝาโค๊กเจาะรูเสียบปลายท่อจิ๋ว ใช้ลวดผูกฝาโค๊กเป็นขาปักลงดิน เพื่อบังคับ
ให้ปลายหยดอยู่ในตำแหน่งที่ต้องการ



6. แหล่งน้ำ เพราะเป็นเรื่องทำให้น้ำรั่วจากท่อ ดังนั้นเราสามารถนำถังขนาด 100-
200 ลิตร วางที่หัวแปลงสูงจากพื้นเพียง 1 ฟุต ก็พอ

ใส่น้ำตามที่ต้องการ
เมื่อเปิดประตูน้ำ น้ำจะรั่วออกตามรูท่อย่อย ไหลไปตามท่อจิ๋ว ซึมลงดินที่โคนต้น
น้ำจะไหลเป็นหยดจนหมดถัง ปรับให้น้ำหมดภายใน 4-6 ชั่วโมง

*** ข้อสำคัญที่สุดของระบบนี้ คือ น้ำต้องไม่มีตะกอน มิฉะนั้นจะทำให้เกิดอุดตัน
ที่ท่อจิ๋ว น้ำจะไม่ไหล *****
*** วิธีนี้เราสามารถละลายปุ๋ยปนลงไปกัยน้ำได้เลย ***

รายละเอียดมีมากมาย สนใจถามได้ตลอดเวลา ภาพที่เห็นได้จากภาคปฏิบัติของนัก
ศึกษาคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

http://www.bansuanporpeang.com/node/2339






มันสำปะหลังระบบน้ำหยด



การเตรียมดิน
รองพื้นด้วยแกลบ มูลไก่ 40 กระสอบต่อไร่ (หรือประมาณ 400 กิโลกรัมต่อไร่ )
จากนั้นให้ทำการหว่านปุ๋ยเคมีเสมอ (15-15-15) ประมาณ 25 กิโลกรัมต่อไร่
แล้วไถกลบด้วยผาล 3 และแปรด้วยผาล 7 เมื่อเสร็จแล้วให้ทำการวางระบบน้ำ
หยด โดยวางสายน้ำหยดระยะ 150 & times ; 40 ซม.

การลงทุนระบบน้ำหยด
อุปกรณ์มีดังนี้ สายน้ำหยด,ท่อพีวีซี,หัวปลาไหล,วาล์วปิด-เปิด,ปั๊มน้ำและไฟฟ้าหรือ
เครื่องคูโบต้า ต้นทุนในการวางระบบประมาณ 6,000 บาทต่อไร (ไม่รวมปั๊มน้ำ) มี
อายุการใช้งาน 3-5 ปี แล้วจึงค่อยเปลี่ยนสายใหม่

ข้อดีของการใช้ระบบน้ำหยด
1. สามารถปลูกมันได้ตลอดทั้งปี
2. ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น
3. ลดต้นทุนการผลิต จากเดิมปลูกปีละ 5-6 ครั้ง จึงได้เก็บเกี่ยวผลผลิต เมื่อใช้
ระบบน้ำหยดลดลงมาเหลือ 3 ครั้ง
4. ผลิตมีคุณภาพ ขายได้ราคาดีขึ้น

การเตรียมท่อนพันธุ์
ควรเลือกท่อนพันธุ์ที่มีอายุประมาณ 8-12 เดือน และต้องเป็นท่อนพันธุ์ที่ใหม่และ
สด มีความสมบูรณ์สูงไม่มีโรคและแมลง ตัดหัวและโคนทิ้งระมาณ 10-20 ซม.
จากนั้นตัดท่อนพันธุ์เป็นท่อน ๆ ละ 25 ซม. แล้วจึงนำไปปลูก

การปลูกและดูแลรักษา
วิธีปลูก นำท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้มาปักตั้งตรงลึกไม่เกิน 5 ซม. ไม่ควรปักเฉียงเพราะ
จะทำให้รากออกข้างเดียว หลังจากนนั้นทำการรดน้ำทันที โดยในช่วงแรก ๆ 2-3
วันค่อยรดหนึ่งครั้ง และในแต่ละครังควรรดน้ำประมาณ 2-3 ชั่วโมง และเมื่อต้นมัน
สำปะหลังตั้งตัวได้จะให้น้ำทุก ๆ 7 วัน การดูแลรักษา ในช่วงอายุ 1-3 เดือนแรก
ควรให้ปุ๋ยทางน้ำเสริมด้วย โดยใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 25-5-5 ผสมกับน้ำปล่อยไปตาม
ระบบน้ำหยดเดือนละครั้ง เพื่อช่วยบำรุงต้นและใบ หลังจากอายุได้ประมาณ 4-5
เดือน ให้ใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ 15-15-15 ปริมาณ 25 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่ออายุได้
6-7 เดือน ให้เปลี่ยนมาเป็นปุ๋ยสูตร 12-4-40 เพื่อช่วยเรื่งหัวเร่งแป้ง


http://www.xn--12ca4dscc8ayd2f.com/tag/%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A2%E0%B8%94/





นี่ไง "สเปร์หมอก" ความฝันที่รอคอย อยากทำมานานแล้ว คราวนี้ทำแน่ๆ
ใจเย็นๆ คอยไปดูที่ไร่กล้อมแกล้ม แล้วเอาไปประยุกต์ใช้ในสวนตัวเอง

จินตนาการ....ถ้าละอองหมอกพุ่งออกมาจากใจกลางทรงพุ่มไม้ผลใหญ่ หรือ
พุ่งขึ้นมาจากพื้นดินคลุมทรงพุ่มไม้พุ่มเตี้ย จะสวยงามขนาดไหน

ริมถนนใหญ่เพชรเกษม ขาล่อง ข้างๆต่างระดับสามแยกนครชัยศรี มีบ้านทรง
เมืองเหนือโบราณ (น่าจะขายกระถางต้นไม้) บ้านนี้แต่งสวนรอบบ้านสวยมาก
ที่น่าสนใจ คือ "สเปร์ยหมอก" ตัวนี้นี่แหละ หาโอกาสเหมาะๆไปดูซี่ แต่ต้อง
ไปให้ตรงตอนที่เปิดเปิดสปริงเกอร์ด้วยนะ






สปริงเกลอร์แบบหัวพ่นฝอย เป็นสปริงเกลอร์ที่พ่นกระจายน้ำแบบเป็นฝองละออง
ขนาดเล็กหรือเป็นเส้น มีรัศมีการกระจายน้ำใกล้ๆ ระยะประมาณไม่เกิน 1.5 เมตร
เหมาะสำหรับการใช้งานที่ต้องการรัศมีการพ่นน้อย เช่น แปลงผัก ต้นไม้ หรือพุ่มไม้
เล็กๆตามสวนในบ้าน ไม้ผลไม้ยืนต้นที่ทรงพุ่มไม้ไม่ใหญ่ เป็นต้น


http://www.kanokproduct.com/content-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C(sprinkler)-4-1919-31208-1.html



http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=1709&sid=1d6815ec8ed816bb55643e2131a16d37





ตอบตอบ: 22/01/2011 10:04 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP


นี่ไง "สเปร์หมอก" ความฝันที่รอคอย อยากทำมานานแล้ว คราวนี้ทำแน่ๆ
ใจเย็นๆ คอยไปดูที่ไร่กล้อมแกล้ม แล้วเอาไปประยุกต์ใช้ในสวนตัวเอง

จินตนาการ....ถ้าละอองหมอกพุ่งออกมาจากใจกลางทรงพุ่มไม้ผลใหญ่ หรือ
พุ่งขึ้นมาจากพื้นดินคลุมทรงพุ่มไม้พุ่มเตี้ย จะสวยงามขนาดไหน

ริมถนนใหญ่เพชรเกษม ขาล่อง ข้างๆต่างระดับสามแยกนครชัยศรี มีบ้านทรง
เมืองเหนือโบราณ (น่าจะขายกระถางต้นไม้) บ้านนี้แต่งสวนรอบบ้านสวยมาก
ที่น่าสนใจ คือ "สเปร์ยหมอก" ตัวนี้นี่แหละ หาโอกาสเหมาะๆไปดูซี่ แต่ต้อง
ไปให้ตรงตอนที่เปิดเปิดสปริงเกอร์ด้วยนะ





สปริงเกลอร์แบบหัวพ่นฝอย เป็นสปริงเกลอร์ที่พ่นกระจายน้ำแบบเป็นฝองละออง
ขนาดเล็กหรือเป็นเส้น มีรัศมีการกระจายน้ำใกล้ๆ ระยะประมาณไม่เกิน 1.5 เมตร
เหมาะสำหรับการใช้งานที่ต้องการรัศมีการพ่นน้อย เช่น แปลงผัก ต้นไม้ หรือพุ่มไม้
เล็กๆตามสวนในบ้าน ไม้ผลไม้ยืนต้นที่ทรงพุ่มไม้ไม่ใหญ่ เป็นต้น


http://www.kanokproduct.com/content-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C(sprinkler)-4-1919-31208-1.html






http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4-102225-4.html




 


http://nanotech.sc.mahidol.ac.th/i-sense/precision_farming.html





ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP





http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=148513&st=67





“แอร์แว”...นวัตกรรมการสูบน้ำ การค้นพบที่เปลี่ยนชีวิตของคนบ้านผาชัน







สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

“ต้องตื่นตี 3 .... ไปรอน้ำที่ค่อย ๆ ซึมขึ้นมาแล้วก็ตักเอามาใช้...เราว่าเราตื่นเช้าแล้วนะ แต่พอไปถึง มีคนไปรอก่อนเราอีก”

บุญธรรม คงทน สะท้อนภาพปัญหา การขาดแคลนน้ำ ที่เขา และชาวบ้านผาชันกว่า 600 ชีวิต ใน 134 ครอบครัวร่วมกันเผชิญ
ร่วมกันมาเป็นเวลาหลายปี โดยทุกๆ ฤดูแล้งเขา และเพื่อนบ้านจะต้องตื่นกันแต่เช้าตรู่เพื่อเข็นรถไปตักน้ำจากแหล่งน้ำซับซึ่ง
อยู่บริเวณชายป่านอกหมู่บ้าน....................

แทบไม่น่าเชื่อชุมชนขนาดเล็กที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขงจะเคยวิกฤติถึงขั้นต้องไปซื้อน้ำจากต่างอำเภอมาใช้ ทั้งนี้เนื่อง
จากสภาพที่ตั้งของชุมชนซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินและมีความลาดชัน ข้อจำกัดของพื้นที่ดังกล่าวคือไม่สามารถอุ้มน้ำไว้ได้ในฤดู
ฝน ในทางกลับกันก็ทำให้เกิดน้ำท่วมเพราะน้ำไม่สามารถไหลซึมลงดินได้ และเมื่อไม่สามารถซึมลงดิน มันก็จะไหลลงแม่น้ำโขง
เกือบทั้งหมด ผลกระทบที่ตามมาคือ เมื่อกรมทรัพยากรน้ำบาดาลเข้าไปเจาะบ่อบาดาลเพื่อให้ชาวบ้านได้มีน้ำใช้ในยามแล้ง
ปรากฏว่าไม่พบน้ำใต้ดินแม้จะขุดลึกลงไปในดินถึง 60 เมตรก็ตาม

ในส่วนของความพยายามที่จะดึงน้ำจากแม่นำโขงขึ้นมาใช้นั้น สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ใช้งบประมาณกว่า 3
ล้านบาทในการเข้ามาวางระบบประปาชุมชน ทำถังเก็บขนาดใหญ่กลางหมู่บ้าน และใช้เครื่องสูบน้ำจากบุ่งพระละคอน (อ่างน้ำธรรม
ชาติขนาดเล็กริมแม่น้ำโขง) ที่อยู่ห่างจาก 300 เมตร และมีน้ำทั้งปี แต่ชาวบ้านใช้ประปาจาก รพช.ได้ไม่นานก็ต้องหยุด เนื่องจาก
ระยะทางระหว่างจุดสูบน้ำ และถังเก็บน้ำอยู่ห่างกันและมีความลาดชันสูงส่งผลให้เครื่องสูบน้ำได้รับความเสียหาย และชาวบ้าน
มองว่ามันไม่คุ้มกับค่าซ่อมบำรุงมอเตอร์สูบน้ำ

เมื่อเทคโนโลยีไม่ได้ผล ทางออกคือของชุมชนคือต้องอาศัยภูมิปัญญาตัวเองด้วยการสร้างทำนบขนาดเล็กกั้นบริเวณจุดน้ำซับ
ตรงลำห้วยเสาเฉลียง และบริเวณน้ำซับจุดอื่น ๆ ซึ่งเป็นบริเวณที่ บุญธรรม และชาวบ้านผาชันไปนั่งรอเป็นเวลากว่าค่อนคืนเพื่อที่
จะขอดเอาน้ำจากบ่อมาใช้ดื่มกิน ซึ่งการมานั่งรอเพื่อตักน้ำซับไม่ได้ลำบากเฉพาะชาวบ้านเท่านั้น หากแต่ยังส่งกระทบไปถึงการ
เรียนการสอนด้วย เพราะเด็ก ๆ ต้องออกไปช่วยพ่อแม่ตักน้ำจากลำห้วยมาไว้ที่บ้านก่อนไปโรงเรียนซึ่งบางคนต้องใช้เวลาเดินไป–
เดินกลับประมาณ 2 ชั่วโมง และในโรงเรียนเด็ก ๆ จะถูกจัดเวรให้ไปตักน้ำมาใช้ในห้องน้ำ ซึ่งผลกระทบนี้ไม่ได้เกิดเฉพาะเรื่อง
การใช้น้ำเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวโยงไปถึงการเรียนการสอนด้วย โดยเฉพาะวิชาเกษตรที่ต้องทำการทดลองปลูกผักก็ต้องงด...บ่อกบ
ที่ทำการทดลองเลี้ยงก็ต้องเลิก…สรุปก็คือ วิชาที่เกี่ยวกับการเกษตร และต้องใช้น้ำต้องยกเลิกในช่วงหน้าแล้ง

แม้จะพยายามกันทุกรูปแบบเพื่อให้มีน้ำใช้ ทั้งการขุดบ่อบาดาล สูบน้ำจากบ่อ ทำฝายกั้นลำห้วย แต่นั้นก็ยังไม่ใช่ทางออกของ
ปัญหา ครูกล พรมสำลี ครูโรงเรียนชมรมจักรยานสมัครเล่นบ้านผาชันบอกว่าบางปี วิกฤติถึงขั้นต้องไปซื้อน้ำใช้

“เพราะพวกเราก็ทำกันทุกวิถีทางแล้วเช่นเดียวกัน แต่ก็แก้ปัญหาไม่ได้ พอดี Nature care หรือศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อ
ท้องถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี เข้ามาอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ถึงแม้จะเป็นเรื่องใหม่ แต่ชาวบ้านผาชันมองว่าน่า
จะทดลองดู...”

ชาวบ้านไม่แค่ทดลองทำ แต่ได้ลงมือทำวิจัยอย่างจริงจัง จุดเด่นของบ้านผาชันคือการมีเวที ”ประชาคมหมู่บ้าน” ที่มักเอาเรื่องราว
และปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนมาหารือ ประเด็นงานวิจัยก็เช่นเดียวกัน

“ในเวทีก็ถกเถียงกันพอสมควร ชาวบ้านส่วนใหญ่ถามว่าถ้าทำวิจัยเรื่องการท่องเที่ยว แล้วถ้านักท่องเที่ยวเข้ามามาก ๆ จะเอา
น้ำที่ไหนใช้...เราก็เลยเปลี่ยนมาเป็นเรื่องการจัดการน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่มีน้ำจำกัด จะมีวิธีการบริหารจัดการน้ำอย่างไร
ให้มีน้ำใช้อย่างเพียงพอ และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด”

ภายใต้โครงการวิจัย: ศึกษารูปแบบการจัดการน้ำที่มีอยู่อย่างจำกัดให้มีประสิทธิภาพสูงสุด : กรณีบ้านผาชัน ตำบลสำโรง
อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี โดยการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานภาค
โดยมี กล พรมสำลี อาจารย์โรงเรียนจักรยานสมัครเล่นบ้านผาชันเป็นหัวหน้าโครงการวิจัย นั้น คนผาชันเริ่มต้นงานวิจัยของ
พวกเขาด้วยการศึกษาปริมาณแหล่งน้ำที่มีอยู่ในหมู่บ้าน พร้อม ๆ ไปกับการศึกษาปริมาณการใช้น้ำของชาวบ้าน ข้อมูลเหล่านี้จะ
ทำให้เห็นว่า ปริมาณที่มิอยู่นั้นเพียงพอกับความต้องการหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อทำไปสู่การหาวิธีการ “ใช้น้ำ” ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

“เมื่อก่อนเราแก้ปัญหากันเฉพาะแค่จะหาทางเอาน้ำมาใช้เพียงอย่างเดียว โดยที่ไม่มองพฤติกรรมการใช้น้ำของตัวเองว่าเป็นอย่างไร
รู้จักประหยัดน้ำหรือไม่ เพราะถ้ามีน้ำแล้วเราไม่รู้จักใช้มันอย่างรู้ค่า ต่อให้มีน้ำมากเท่าไหร่ก็คงไม่เพียงพอ”

และในระหว่างที่ชาวบ้านและทีมวิจัย กำลังดำเนินโครงการวิจัยในระยะแรกอยู่นั้น โครงการ SML. เห็นความพยายามของชาวบ้านที่
จะหาแนวทางพัฒนาแหล่งน้ำของชุมชนเอง จึงจัดสรรงบประมาณมาให้จำนวนหนึ่ง ชาวบ้านนำงบประมาณดังกล่าวไปใช้ในการต่อเติม
ฝายวังอีแร้ง เพื่อรองรับน้ำในยามหน้าฝน งบประมาณอีกส่วนนำไปพัฒนาและปรับปรุงระบบประปา และซื้อมอเตอร์สูบน้ำตัวใหม่ทด
แทนตัวเดิมที่ชำรุดไป

การต่อเติมฝายวังอีแร้ง ทำให้บ้านผาชันด้านทิศใต้ 21 ครัวเรือนที่เคยขาดแคลนน้ำในช่วงหน้าแล้งได้มีน้ำใช้ เพราะบริเวณดังกล่าว
อยู่สูงเกินกว่าที่ระบบ “ประปาหมู่บ้าน” จะส่งน้ำมาถึง และในทางกลับกันก็จะทำให้อีก 113 ครัวเรือนที่อยู่ด้านเหนือด้านที่ติดแม่
น้ำโขงมีน้ำ “ประปาภูเขา” ใช้ในช่วงหน้าน้ำเนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวน้ำในแม่น้ำโขงจะท่วมบุ่งพระละคอนซึ่งไม่สามารถนำเครื่อง
ลงไปสูบน้ำขึ้นมาใช้ได้

และในส่วนของการสูบน้ำจากบุ่งพระละครขึ้นมาใส่ถังประปาหมู่บ้านนั้น ทีมวิจัยค้นพบ “แอร์แว” ซึ่งเป็นนวัตกรรมการสูบน้ำด้วยการ
ใช้อากาศเข้าไปช่วยในการเพิ่มแรงดันให้เครื่องสูบน้ำ โดยการต่อท่อซึ่งมีความยาว 1 เมตร 2 อัน

ครูกลบอกว่า “แอร์แว” หรือ “แอร์แวะ” คือการปล่อยให้อากาศมันแวะเข้าไปในน้ำ ทำให้น้ำมีแรงดันมากขึ้น...และที่สำคัญกว่านั้น
ก็คือ...ไม่ทำให้เครื่องสูบน้ำได้รับความเสียหายเหมือนกับทีผ่าน ๆ มา

“เป็นการค้นพบกันโดยบังเอิญ...ตอนนั้นเราทำฝายที่วังอีแรงเสร็จแล้ว ก็เหลือแต่ว่าจะทำอย่างไรที่จะสูบน้ำจากบุ่งพระละครขึ้นมาได้
เพราะหากสูบแบบเดิมเครื่องสูบน้ำพังแน่นอน พอดีมีชาวบ้านชื่อ ชรินทร์ อินทร์ทอง เข้ามาในเวทีประชาคม เล่าว่าตอนเขาสูบน้ำ
รดต้นไม้ เห็นสายยางขาดทำให้สายยางมันสะบัดไปมา และน้ำมันก็ฉีดแรงขึ้น....แกเลยเสนอให้เจาะรู้แล้วลองต่อท่อ...ทีมวิจัยก็
เลยเอาไปทดลองทำ...ทดลองอยู่หลายครั้ง เพราะมันต้องให้ได้ระยะของมัน ห่างเกินไป หรือ ใกล้กันเกินไปก็สูบน้ำไม่ขึ้น ระยะ
ห่างที่ลงตัวที่สุดคือ ตัวท่อแอร์แวยาว 1 เมตร ระหว่างท่อทั้ง 2 อยู่ที่ 30 เซนติเมตร”

“แอร์แว” ทำให้คนบ้านผาชันมีน้ำใช้ตลอดทั้งปี แต่ชาวบ้านก็ยังไม่หยุดเพียงเท่านั้น หากแต่ได้ร่วมกันคิดหาทาง “ประหยัดน้ำ”
ขึ้นอีก เพราะจากการสำรวจข้อมูลการใช้น้ำของชุมชนพบว่าใน 1 วันคนบ้านผาชันใช้น้ำ 44,757.6 ลิตร โดยพบว่า กิจกรรมที่
ใช้น้ำมาที่สุดคือ อาบ,ล้างหน้า,แปรงฟัน ใช้น้ำมากถึง 13,962 ลิตร ลองลงมาคือน้ำซักผ้า 10,566 ลิตร ซึ่งเมื่อทีมวิจัยได้
นำข้อมูลเสนอต่อที่ประชุมในเวทีประชาคมหมู่บ้านให้ชาวบ้านช่วยกันคิดหาวิธีลดการใช้น้ำ หรือ ใช้น้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

อันเป็นที่มาของกิจกรรม “ครอบครัวประหยัดน้ำ” โดยมอบรางวัลแก่ครอบครัวที่ชนะเลิศ เดือนละ 1 ครั้ง และให้ครอบครัวที่ได้รับ
รางวัลอธิบายเทคนิค วิธีการประหยัดน้ำให้กับครอบครัวอื่นๆ ได้ทราบและนำไปปฏิบัติตาม นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมแบ่งกลุ่มดู
แลทำความสะอาดบ่อน้ำธรรมชาติของชุมชน เพื่อให้บ่อนำมีพื้นที่กักเก็บน้ำมากยิ่งขึ้น.........................

ปัจจุบันบุญธรรม และสมาชิกในครอบครัว ไม่ต้องตื่นแต่เช้าเพื่อไปรอ “ขอด” น้ำจากก้นบ่อเพื่อเอามาใช้ดื่มกินอีกแล้ว เพราะมี
“น้ำ” ที่พวกเขาเรียกกันติดปากว่า “น้ำจากงานวิจัย” ให้ใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง แต่บุญธรรมก็ไม่ใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือย ตรงกันข้าม
ครอบครัวของเขาช่วยกันประหยัด และใช้น้ำทุกหยดอย่างรู้ค่า กระทั่งได้รับคัดเลือกให้เป็น “ครอบครัวประหยัดน้ำ”ของหมู่บ้าน
รายแรกๆ


ข้อมูลเพิ่มเติม – ฝ่ายเผยแพร่งานวิจัย สกว.สำนักงานภาค โทร. 053 – 948 – 286 – 7 ต่อ 14, 15


http://www.technologymedia.co.th/column/columnview.asp?id=211





วิธีการใช้ปุ๋ยเคมีเหลว

ต้องมีการจัดทำระบบน้ำชลประทานในแปลงปลูกเสียก่อน ซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วนคือ
1. เครื่องสูบน้ำ ทำหน้าที่เป็นต้นกำลังในการผลักดันน้ำและปุ๋ยไปตามท่อส่งน้ำ

2. ท่อส่งน้ำ ทำหน้าที่ในการนำพาน้ำและ
ปุ๋ยไปยังหัวจ่ายน้ำ

3. หัวจ่ายน้ำ ทำหน้าที่ในการจ่ายน้ำและปุ๋ยให้แก่พืชที่ต้องการน้ำและปุ๋ย โดยให้ในอัตราตามที่ต้องการ เช่น 80 ลิตร /ชั่วโมง
หรือ 120 ลิตร /ชั่วโมง อาจให้เป็นแบบน้ำหยด (drip) แบบน้ำเหวี่ยง แบบพ่นฝอย (mini-sprinkle) หรือแบบน้ำเหวี่ยง
ขนาดใหญ่ (sprinkle)

4. ปุ๋ยเคมีเหลว เป็นปุ๋ยที่ใช้กับการให้ปุ๋ยในระบบน้ำชลประทานโดยเฉพาะ (fertigation fertilizer) มี 2 ชนิด คือ
ปุ๋ยเคมีเหลวใส และปุ๋ยเคมีเหลวมีสารแขวนลอย


การคำนวณปริมาณปุ๋ยที่ให้แก่พืชในระบบน้ำชล
ประทาน สำหรับไม้ผล
1. ต้องรู้จำนวนต้นไม้ผลในแปลงปลูกที่จะให้ปุ๋ย
ในแต่ละครั้ง

2. ต้องรู้สูตรปุ๋ยที่จะให้

3. ต้องรู้ปริมาณปุ๋ยที่จะให้ต่อต้นในช่วงความถี่ในการให้ปุ๋ยเท่าไร เช่น ให้ปุ๋ยเคมีเหลวในอัตรา 100 กรัม/ต้น/30 วัน หมายความว่า
ในต้นไม้ผล 1 ต้น เราจะต้องให้ปุ๋ยเคมีเหลวจำนวน 100 กรัม โดยให้ทุกๆ 30 วัน ดังนั้นในหนึ่งปี เราให้ปุ๋ยเคมีเหลวรวม 12 ครั้ง ตาม
หลักการให้ปุ๋ยเคมีเหลวในระบบน้ำชลประทานที่ดีว่า “ ให้น้อยแต่บ่อยครั้ง “

สมมุติว่า มีสวนส้มเขียวหวาน 1 แปลงที่จะให้ปุ๋ยมีจำนวนต้นส้ม 50 ต้น อายุส้มประมาณ 6 ปี ขณะนี้ติดผลอายุ 3 เดือน หลังออก
ดอก ต้องการให้ปุ๋ยสูตร 18-6-12 ในอัตรา 100 กรัม/ต้น / 30วัน


วิธีคำนวณ
จำนวนต้นส้ม 50 ต้น ต้องการปุ๋ยต้นละ 100 กรัม และให้ปุ๋ยเคมีเหลวทุกๆ 30 วัน
ปริมาณปุ๋ยที่ให้ทั้งหมด = 50 x 100..... = 5,000 กรัม หรือ 5 กิโลกรัม


ดังนั้นต้องชั่งปุ๋ยเคมีเหลวตามจำนวนดังกล่าว นำมาใส่ในถังผสมสารละลายปุ๋ย (อาจเป็นถังพลาสติกสีฟ้า 200 ลิตร หรืออ่างผสมปุ๋ย
ที่สร้างขึ้น) เนื่องจากปุ๋ย 5 กิโลกรัม มีจำนวนน้อยจึงควรเพิ่มน้ำอีก 100 ลิตรในถังผสม เพื่อให้ได้เนื้อ กวนให้เข้ากัน แล้วดำเนินการ
ให้ปุ๋ยตามขั้นตอนดังนี้
1. ควรจ่ายน้ำเปล่าก่อนใช้เวลาประมาณ 15 นาที

2. ขณะที่กำลังจ่ายน้ำเปล่า(เมื่อครบ 15 นาที) ให้เปิดวาล์วที่ถังผสมสารละลายปุ๋ย ปล่อยปุ๋ยให้หมดถังโดยใช้เวลาประมาณ 15
นาที แล้วปิดวาล์ว

3. จ่ายน้ำเปล่าอีกครั้ง ใช้เวลา 15 นาที เพื่อเป็นการชำระล้างท่อ หัวจ่ายน้ำ ตลอดจนเครื่องสูบน้ำด้วย

4. นับจากวันนี้ไปอีก 30 วันจึงจะมีการให้ปุ๋ยอีกครั้ง หรืออีกหนึ่งเดือนข้างหน้าจะต้องให้ปุ๋ยอีกครั้ง


การให้ปุ๋ยเคมีเหลวในระบบน้ำชลประทานดังกล่าวข้างต้น ต้นส้ม 50 ต้น จะได้รับปุ๋ยต้นละ 100 กรัม ค่อนข้างสม่ำเสมอ ลดการชะล้าง
ปุ๋ยออกนอกบริเวณรากพืช ลดการซึมลึกลงสู่น้ำใต้ดิน รากพืชไม่เสียหาย ธาตุอาหารพืชไม่ถูกตรึงโดยอนุภาคดิน พืชได้รับธาตุ
อาหารครบ เช่น N P K Ca Mg S Zn Fe Cl Mn Cu B Mo


แผนผังแสดงการติดตั้งระบบน้ำชลประทาน


http://captainfer.com/index.php?option=com_content&view=article&id=57&Itemid=58






ตอบตอบ: 23/01/2011 12:06 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP







http://solarcelldd.com/-4/






http://3.bp.blogspot.com/_BwK7IvZDha0/TAdxFrdZuJI/AAAAAAAAAMI/Dvf8va34Mxw/s320/doogaden2.blogspot.jpg





http://lanpanya.com/proiad/archives/194





http://www.oknation.net/blog/somchoke101/2010/09/09/entry-1





http://kaewpanya.rmutl.ac.th/2552/index.php?option=com_content&view=article&id=1241:2009-10-15-07-26-16&catid=30:2009-07-29-08-44-40




ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP




http://www.sprinklerthailand.com/sprinkler%20Nelson%20SR%20series.php


ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP




http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%99%20%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%AA%E0%B9%8C&imgurl=http://image.ohozaa.com/ii/cpssk.jpg&imgrefurl=http://www.kasetloongkim.com/modules.php%3Fname%3DForums%26file%3Dviewtopic%26t%3D1249%26highlight%3D&usg=__MqzQELRcSb7rheVeORt8PfW15-c=&h=317&w=400&sz=147&hl=th&zoom=1&um=1&itbs=1&tbnid=1VJslWmhZEq1LM:&tbnh=98&tbnw=124&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B7%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2599%2B%25E0%25B9%2581%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%258C%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25AA%25E0%25B9%258C%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DG%26tbs%3Disch:1&ei=HMRCTeraFozNrQexkrD0Dw&um=1&sa=G&tbs=isch:1&start=0#tbnid=1VJslWmhZEq1LM&start=0


ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP




 



 




 




ตอบตอบ: 29/01/2011 10:38 pm    ชื่อกระทู้: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP



































http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%20%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E&imgurl=http://www.hitechhome.co.th/image/ppic20081105309103415.png&imgrefurl=http://www.hitechhome.co.th/&usg=__FYniQnvwyTUBn3p7Mdg2WPpRaN4=&h=1200&w=1600&sz=778&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=SOUq2FqzOCwBoM:&tbnh=113&tbnw=150&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2587%25E0%25B9%2580%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25A3%25E0%25B9%258C%2B%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%259E%26start%3D20%26hl%3Dth%26sa%3DN%26ndsp%3D20%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divns&ei=YzRETa7cD4rOrQe5_djyDw&start=24&sa=N&ndsp=20&tbs=isch:1&prmd=ivns#tbnid=SOUq2FqzOCwBoM&start=28








  




http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=katanyoo&month=04-2009&date=26&group=1&gblog=46










http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%20%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2&imgurl=http://www.buildboard.com/images/attachpic/www/B176/B176F2202T45175_31358b15cbfa1272e9f15ba242d8a29a.jpg&imgrefurl=http://www.buildboard.com/viewtopic.php/176/2202/45175/0/&usg=__gdPJxk670Ngm8UvAhy3LU2_AB28=&h=480&w=640&sz=81&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=D-W3z3ma-L44DM:&tbnh=103&tbnw=137&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%2B%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%26start%3D880%26hl%3Dth%26sa%3DN%26ndsp%3D20%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divnsfd&ei=ofhPTYDqJ8HTrQfrqLzaBg&start=884&sa=N&ndsp=20&tbs=isch:1&prmd=ivnsfd#tbnid=D-W3z3ma-L44DM&start=888





ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP





http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%20%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2&imgurl=http://www.teedinsale.com/images/140/1.jpg&imgrefurl=http://www.teedinsale.com/%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2584%25E0%25B8%2595%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%25B1%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2581/%25E0%25B8%2597%25E0%25B8%25B5%25E0%25B9%2588%25E0%25B8%2594%25E0%25B8%25B4%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587/%25E0%25B8%2582%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25AA%25E0%25B8%25A7%25E0%25B8%2599%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587-%25E0%25B8%259A%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2599-140.htm&usg=__vsmipsQWm1iFT0d4hRF54C639sM=&h=450&w=600&sz=106&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=o95f38clEkwoaM:&tbnh=101&tbnw=135&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%2599%25E0%25B9%2589%25E0%25B8%25B3%2B%25E0%25B8%25A2%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%26start%3D420%26hl%3Dth%26sa%3DN%26ndsp%3D20%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divnsfd&ei=nOtPTcnVIsPlrAfNhsXbBg&start=418&sa=N&ndsp=20&tbs=isch:1&prmd=ivnsfd#tbnid=o95f38clEkwoaM&start=422




: ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP




http://www.ajaypump.net/full-images/rain-gun-sprinkler-757176.jpg




ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP





http://www.google.co.th/imglanding?q=rain%20gun&imgurl=http://www.ajaypump.net/full-images/rain-gun-sprinkler-757176.jpg&imgrefurl=http://www.ajaypump.net/rain-gun-sprinkler.htm&usg=__LrPURoOAGHuljAaPWTXNuDnd-sk=&h=274&w=400&sz=10&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=Z1NAYvyb73g10M:&tbnh=85&tbnw=124&prev=/images%3Fq%3Drain%2Bgun%26hl%3Dth%26sa%3DX%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divns&ei=ZwJQTaPpE4q8rAe8qNHbBg&sa=X&tbs=isch:1&prmd=ivns&start=0#tbnid=Ob--A4jo84z92M&start=1



ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP





http://www.google.co.th/imglanding?q=rain%20gun&imgurl=http://www.ajaypump.net/full-images/rain-gun-sprinkler-757176.jpg&imgrefurl=http://www.ajaypump.net/rain-gun-sprinkler.htm&usg=__LrPURoOAGHuljAaPWTXNuDnd-sk=&h=274&w=400&sz=10&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=Z1NAYvyb73g10M:&tbnh=85&tbnw=124&prev=/images%3Fq%3Drain%2Bgun%26hl%3Dth%26sa%3DX%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divns&ei=ZwJQTaPpE4q8rAe8qNHbBg&sa=X&tbs=isch:1&prmd=ivns&start=0#tbnid=-4lxAtnIKlt4GM&start=36

ตอบกระทู้ด้วยเครื่องหมายคำพูด(quote) แก้ไข/ลบคำตอบนี้ ลบคำตอบนี้ แสดง IP





http://www.google.co.th/imglanding?q=rain%20gun&imgurl=http://www.ajaypump.net/full-images/rain-gun-sprinkler-757176.jpg&imgrefurl=http://www.ajaypump.net/rain-gun-sprinkler.htm&usg=__LrPURoOAGHuljAaPWTXNuDnd-sk=&h=274&w=400&sz=10&hl=th&zoom=1&itbs=1&tbnid=Z1NAYvyb73g10M:&tbnh=85&tbnw=124&prev=/images%3Fq%3Drain%2Bgun%26hl%3Dth%26sa%3DX%26tbs%3Disch:1%26prmd%3Divns&ei=ZwJQTaPpE4q8rAe8qNHbBg&sa=X&tbs=isch:1&prmd=ivns&start=0#tbnid=efP4uff3KJFfLM&start=54









สงวนลิขสิทธิ์โดย © ++kasetloongkim.com++ All Right Reserved.

ติดประกาศ: 2010-08-08 (11076 ครั้ง)

[ ย้อนกลับ ]
Content ©