ไดโลไมต์ (Dolomite) เป็นปูนที่มีสารประกอบของคาร์บอเนต เช่นเพียวกับหินปูนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCo3) ซึ่งได้จากภูเขาหินปูนที่มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย โดโลไมต์มีสูตรทางเคมีว่า แมกนีเซียมแคลเซียมคาร์บอเนต MgCo3CaCo3 เมื่อบริสุทธิ์จะมีแมกนีเซียม 13.5% (แมกนีเซียมออกไ
ไดโลไมต์
ไดโลไมต์ (Dolomite) เป็นปูนที่มีสารประกอบของคาร์บอเนต เช่นเพียวกับหินปูนแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCo3) ซึ่งได้จากภูเขาหินปูนที่มีอยู่ทั่วไปในประเทศไทย โดโลไมต์มีสูตรทางเคมีว่า แมกนีเซียมแคลเซียมคาร์บอเนต MgCo3CaCo3 เมื่อบริสุทธิ์จะมีแมกนีเซียม 13.5% (แมกนีเซียมออกไซต์ 21.7%) และแคลเซียมออกไซต์ 30.2%
โดโลไมต์สามารถนำไปผลิตเป็นสารอื่น ๆ ได้ดังนี้
โดโลไมติกไลม์ (Dolomiticlime) เมื่อเรานำโดโลไมต์ไปผ่านกระบวนการแคลซิเนชั่น(Calcination)ที่อุณหภูมิ 900-100 C แล้วละก็ คุณผู้ฟังจะได้ โดโลไมติกไลม์ ซึ่งมีสูตรทางเคมีคือแมกนีเซียมออกไซด์ MgO.Cao และถ้าใช้อุณหภูมิเพียง 550-600 C และพ่นด้วย Supperheatedsteam แล้วแมกนีเซียมคาร์บอเนตจะเปลี่ยนเป็นแมกนีเซียมออกไซด์ ส่วนแคลเซียมคาร์บอเนตไม่สลายตัว จึงได้แมกนีเซียมออกไซด์แคลเซียมคาร์บอเนต MgO.CaCo3 ซึ่งสลายในดินและเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่ายกว่าโดโลไมต์อีกด้วย
แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ผลิตได้จากปฎิกิริยาระหว่างโดโลไมต์บดกับแอมโมเนียมไนเตรท ดังนั้นปุ๋ยที่จะได้ คือ แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ซึ่งเก็บรักษาง่ายและไม่เสี่ยงต่อการระเบิดเหมือนแอมโมเนียมไนเตรท
เบสิก สแลค (Basic Slag) เบสิกสแลค จัดเป็นปุ๋ยฟอสเฟตที่ได้รับจากวัสดุอันเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมถลุงแร่ เหล็ก จากสินแร่ที่มีฟอสฟอรัสเป็นสิ่งเจือปน วิธีการแยกสิ่งเจือปนนี้ทำได้โดยหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านเค้ก และโดโลไมต์บดในเตาเผาที่มีอุณหภูมิประมาณ 1,900 C เบสิก สแลคจะเบากว่าเนื้อเหล็กที่หลอม ดังนั้นเบสิกสแลคจึงลอยอยู่บนผิวและถ่ายออกได้หลังจากปล่อยไว้ให้เย็นลงในอากาศจึงเทลงในน้ำ [...]
ซต์ 21.7%) และแคลเซียมออกไซต์ 30.2%
โดโลไมต์สามารถนำไปผลิตเป็นสารอื่น ๆ ได้ดังนี้
โดโลไมติกไลม์ (Dolomiticlime) เมื่อเรานำโดโลไมต์ไปผ่านกระบวนการแคลซิเนชั่น(Calcination)ที่อุณหภูมิ 900-100 C แล้วละก็ คุณผู้ฟังจะได้ โดโลไมติกไลม์ ซึ่งมีสูตรทางเคมีคือแมกนีเซียมออกไซด์ MgO.Cao และถ้าใช้อุณหภูมิเพียง 550-600 C และพ่นด้วย Supperheatedsteam แล้วแมกนีเซียมคาร์บอเนตจะเปลี่ยนเป็นแมกนีเซียมออกไซด์ ส่วนแคลเซียมคาร์บอเนตไม่สลายตัว จึงได้แมกนีเซียมออกไซด์แคลเซียมคาร์บอเนต MgO.CaCo3 ซึ่งสลายในดินและเป็นประโยชน์ต่อพืชได้ง่ายกว่าโดโลไมต์อีกด้วย
แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ผลิตได้จากปฎิกิริยาระหว่างโดโลไมต์บดกับแอมโมเนียมไนเตรท ดังนั้นปุ๋ยที่จะได้ คือ แมกนีเซียม-แคลเซียม-แอมโมเนียมไนเตรท ซึ่งเก็บรักษาง่ายและไม่เสี่ยงต่อการระเบิดเหมือนแอมโมเนียมไนเตรท
เบสิก สแลค (Basic Slag) เบสิกสแลค จัดเป็นปุ๋ยฟอสเฟตที่ได้รับจากวัสดุอันเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมถลุงแร่ เหล็ก จากสินแร่ที่มีฟอสฟอรัสเป็นสิ่งเจือปน วิธีการแยกสิ่งเจือปนนี้ทำได้โดยหลอมสินแร่เหล็กกับถ่านเค้ก และโดโลไมต์บดในเตาเผาที่มีอุณหภูมิประมาณ 1,900 C เบสิก สแลคจะเบากว่าเนื้อเหล็กที่หลอม ดังนั้นเบสิกสแลคจึงลอยอยู่บนผิวและถ่ายออกได้หลังจากปล่อยไว้ให้เย็นลงในอากาศจึงเทลงในน้ำ [...]