ดูกระทู้ก่อนนี้ :: ดูกระทู้ถัดไป |
ผู้ส่ง |
ข้อความ |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
ตอบ: 14/08/2021 5:51 am ชื่อกระทู้: *ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช |
|
|
.
.
.
VipPro ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืชจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis
วิจัยและพัฒนาโดย
ดร.บุญเฮียง พรมดอนกอย และคณะ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)
นักวิจัยพบว่าโปรตีน Vip3A ที่พบได้ในแบคทีเรียบีที (Bacillus thuringiensis) มีฤทธิ์ฆ่าแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่น หนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผัก ซึ่งเป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญของประเทศไทย มักพบการแพร่ระบาดสร้างความเสียหายแก่พืชผักในวงกว้าง ทีมวิจัยจึงนำโปรตีน Vip3A มาพัฒนาเป็น VipPro หรือชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช โดยคิดค้นสูตรและกระบวนการผลิตที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดแมลงให้สูงขึ้น ใช้งานง่ายเพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น ออกฤทธิ์เร็ว ลดความสูญเสียและร่องรอยตำหนิบนใบพืช ปลอดภัยทั้งผู้ปลูก ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม สามารถใช้ได้กับแมลงศัตรูพืชที่ดื้อต่อสารเคมีแล้ว
https://www.nstda.or.th/nac/2021/2021/03/16/na35-biocontrol-vippro/
คุณสมบัติและจุดเด่นของเทคโนโลยี
ศัตรูพืชหยุดกินอาหารภายใน 1 ชม. ลดความเสียหายของพืชได้มาก
มีประสิทธิภาพสูง ปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อต่อผู้ใช้และผู้บริโภค
ไม่มีของเสียในกระบวนการผลิต สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน
ใช้งานง่าย เพียงผสมน้ำแล้วฉีดพ่น หรือผสมกับการให้ปุ๋ยทางใบ
VipPro ออกฤทธิ์เสริมกับชีวภัณฑ์อื่นได้ดี เช่น ไวรัสเอนพีวี ราบิวเวอเรีย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
สถานภาพของผลงาน
อนุสิทธิบัตร เลขที่ 12300 เรื่อง กระบวนเพาะเลี้ยงเชื้อบีที เพื่อผลิตโปรตีน Vip3A ในระดับห้องปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ที่สนใจหรือนักลงทุนที่ต้องการผลิตและจำหน่ายชีวภัณฑ์กำจัดแมลงศัตรูพืช
เกษตรกรติดต่อสอบถาม
รัชวรรณ ฐานัตถวงศ์เจริญ
สำนักงานจัดการสิทธิเทคโนโลยี (TLO) สวทช.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์: 0 2564 7000 ต่อ 1357
E-mail: tlo-ipb@nstda.or.th
เว็บไซต์: www.nstda.or.th
.
แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย kimzagass เมื่อ 14/08/2021 3:54 pm, แก้ไขทั้งหมด 2 ครั้ง |
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
kimzagass หาวด้า


เข้าร่วมเมื่อ: 12/07/2009 ตอบ: 11793
|
ตอบ: 03/10/2021 6:54 am ชื่อกระทู้: |
|
|
.
..
http://www.organic.moc.go.th/sites/default/files/attachments/other/report_maetang_final.pdf
การศึกษาพัฒนาแนวทางการลดใช้สารเคมีในการเกษตรด้วยกระบวนการวิจัย แบบมีส่วนร่วม :
ฯลฯ
กรอบแนวคิดของการศึกษาแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรเพื่อลดการใช้สารเคมีในการผลิต
แนวทางการสร้างความตระหนักเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรในการลดใช้สารเคมีในการผลิตเพื่อลดภาวะมลพิษในสิ่งแวดล้อม และลดผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนจากการบริโภคอาหาร ควรเน้นการส่งเสริมศักยภาพของเกษตรกรให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงภาวะคุกคามต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมอันเนื่องมาจากการใช้สารเคมีรวมทั้งสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในการตัดสินใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการผลิต ประกอบด้วยกระบวนการดังนี้
1. การถ่ายทอดองค์ความรู้จากการศึกษาวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ด้านผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้สารเคมี
2. การให้เกษตรกรแสดงบทบาทในงานวิจัย โดยมีส่วนร่วมในการศึกษาถึงการตกค้างของสารเคมีในร่างกายและในสิ่งแวดล้อมการผลิตของตนเอง เพื่อให้เห็นผลกระทบในเชิงประจักษ์เป็นการกระตุ้นให้เห็นความสำคัญของการลดใช้สารเคมี
3. การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านการเกษตรทางเลือกที่ไม่ใช้สารเคมีจะเป็นส่วนหนึ่งของข้อมูลวิธีการที่เกษตรกรจำเป็นต้องใช้ประกอบการตัดสินใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
4. ในฐานะผู้ผลิต จำ เป็นต้องสนับสนุนให้เกษตรกรเข้ามามีบทบาทร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดห่วงโซ่อุปสงค์และอุปทาน ซึ่งได้แก่ผู้ค้ารายใหญ่และรายย่อยผู้บริโภค หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกลไกรายงานผลการวิจัย
ฯลฯ
. |
|
กลับไปข้างบน |
|
 |
|